เมื่อปี 1938 มีค้นพบรองเท้าแตะโบราณในถ้ำฟอร์ตร็อค ทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐโอเรกอนและทางเหนือของเนวาดา โดยนักโบราณคดี
ชื่อ "ลูเธอร์ เครสแมน" รองเท้าแตะที่ว่าเลยถูกตั้งชื่อว่า “รองเท้าฟอร์ตร็อค” เขาเชื่อว่าตัวเองค้นพบวัตถุ
ชื่อ "ลูเธอร์ เครสแมน" รองเท้าแตะที่ว่าเลยถูกตั้งชื่อว่า “รองเท้าฟอร์ตร็อค” เขาเชื่อว่าตัวเองค้นพบวัตถุ
โบราณเข้าให้แล้ว แต่ก็ยังพิสูจน์ไม่ได้ เพราะเครื่องตรวจวัดคาร์บอนอายุโบราณวัตถุยังไม่ถูกพัฒนาขึ้น จนปี 1951 ความจริงจึงเปิดเผยว่าเส้นใยที่ถูกนำเอามาทำรองเท้าอายุเก่าแก่กว่า 9,000 ปี ยืนยันความจมูกไวของนักโบราณคดีฝีมือเก๋าของเขา
รองเท้าที่ว่าทำขึ้นจากการเลาะ
เอาเปลือกต้นไม้ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า sagebrush มาทุบแล้วฟั่นให้เป็นเหมือนเชือก จากนั้นค่อยถักขึ้นรูปให้เป็นรองเท้าที่ใช้สวมในฤดูหนาว
เอาเปลือกต้นไม้ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า sagebrush มาทุบแล้วฟั่นให้เป็นเหมือนเชือก จากนั้นค่อยถักขึ้นรูปให้เป็นรองเท้าที่ใช้สวมในฤดูหนาว
นอกเรื่องนิดนะครับ เพราะกรรมวิธี
การฟั่นเชือกนี้ ไม่ใช่แค่เอามาทำรองเท้านะครับ แต่พวกอินเดียนแดง
(อเมริกันพื้นเมือง) ยังนำเปลือกไม้บางชนิดมาทุบๆ แล้วตัดเย็บเข้าเป็นเสื้อผ้า หรือแม้แต่บ้านเราก็เอาเปลือกต้นสา
(ซึ่งเป็นพืชยืนต้นตระกูลปอ)
หรือต้นข่อยมาทุบและเข้ากระบวนการจนได้ออกมาเป็นกระดาษสาหรือกระดาษข่อย หรือเอาเส้นใยป่าน
งหรือปอมาฟั่นเป็นเชือกสำหรับใช้ประโยชน์อื่นๆ ด้วย
การฟั่นเชือกนี้ ไม่ใช่แค่เอามาทำรองเท้านะครับ แต่พวกอินเดียนแดง
(อเมริกันพื้นเมือง) ยังนำเปลือกไม้บางชนิดมาทุบๆ แล้วตัดเย็บเข้าเป็นเสื้อผ้า หรือแม้แต่บ้านเราก็เอาเปลือกต้นสา
(ซึ่งเป็นพืชยืนต้นตระกูลปอ)
หรือต้นข่อยมาทุบและเข้ากระบวนการจนได้ออกมาเป็นกระดาษสาหรือกระดาษข่อย หรือเอาเส้นใยป่าน
งหรือปอมาฟั่นเป็นเชือกสำหรับใช้ประโยชน์อื่นๆ ด้วย
ส่วนในสมัยโรมันมีรองเท้าแบบนี้เหมือนกัน บ้างก็ทำจากเชือก บ้างก็ทำจากหนัง(ทำเป็นเส้นแล้วสาน) ขอเรียกว่า “รองเท้าสาน” ครับ
ดังนั้น ถ้าจะเรียกรองเท้าโบราณนี้
ว่า “รองเท้าเปลือกไม้” ก็ตรงตัวดี
แต่ก็กลัวคนสับสน ดังนั้นเรียกว่า “รองเท้าเชือก”
ก็ไม่เลวนะ...รองเท้าเชือกฟอร์ตร็อค
ว่า “รองเท้าเปลือกไม้” ก็ตรงตัวดี
แต่ก็กลัวคนสับสน ดังนั้นเรียกว่า “รองเท้าเชือก”
ก็ไม่เลวนะ...รองเท้าเชือกฟอร์ตร็อค